วันอาทิตย์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2555

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนที่ 5 (2)



9. การเห็นว่าคุณความดีต่างๆ มีอยู่จริง เรียกว่าอะไร
. สัมมาอาชีวะ                                        . สัมมาทิฏฐิ
. สัมมาวายามะ                                       .  สัมมาสังกัปปะ
10. การมีความเห็นที่ถูกต้องมีประโยชน์ต่อชีวิตอย่างไร
. ละเว้นความชั่วได้                                  . มีจิตใจบริสุทธิ์
. ทำความดีทั้งกาย วาจา ใจ                        .  ชีวิตมีความสุข
11. ข้อปฏิบัติที่สอดคล้องกับกฎธรรมชาติทำให้เกิดผลในการดับทุกข์ เรียกว่าอะไร
. เบญจขันธ์                                           . กฎแห่งกรรม
. ไตรลักษณ์                                           .  มรรค
12. การคิดและแก้ปัญหาได้ถูกต้องตามความเป็นจริง เกิดจากการฝึกอบรมในด้านใด
. การฝึกอบรมทางปัญญา                           . การปลูกฝังคุณธรรม
. การฝึกอบรมทางจิตใจ                             .  การฝึกอบรมความประพฤติ
13. การรู้จักประพฤติตนเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น เรียกว่าอะไร
. จาคะ                                                 . ทมะ 
. อัตถจริยา                                           .  เมตตา
14. ”สัปปุริสธรรม 7 มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตอย่างไร
. เป็นคนมีความรู้ ความสามารถ                    . เป็นที่ยอมรับของคนทั่วไป
. มีความพอเพียง ประมาณตน เลี้ยงชีวิตชอบ    .  มีแนวทางในการพัฒนาอาชีพ
15. การให้ทานหรือการแบ่งปันมีประโยชน์อย่างไร
. สังคมยอมรับ                                        . ครองใจคนได้ เป็นสุขทั้งผู้ให้และผู้รับ
. ช่วยเหลือสังคม                                     .  เป็นการฝึกอบรมจิตให้เสียสละ

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนที่ 5


แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนที่ 5  พุทธธรรมกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 ( เวลา 20 นาที )

จงเขียนเครื่องหมาย X ในกระดาษคำตอบ  เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว

1. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสำคัญอย่างไร
. ประชาชนมีอาชีพ                                   . เศรษฐกิจเจริญรุ่งเรือง
. เกิดการออมภายในประเทศ                       .  ประชาชนรู้จักใช้ชีวิตตามทางสายกลาง
2. การดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจให้มีจิตสำนึกอย่างไร
. มีเหตุมีผล                                             .      ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์
. ประหยัดอดออม                                    .  ซื่อสัตย์ สุจริต อดทน ขยัน แบ่งปัน
3. พระราชดำริว่าด้วยเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนรากฐานของสิ่งใด
. การดำเนินชีวิตตามยุคสมัย                       . ความเชื่อที่สืบต่อกันมา
. คุณธรรม และวัฒนธรรมไทย                      .  โชคลาง และไสยศาสตร์
4. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วยเงื่อนไขความรู้ใด
. มีความฉลาดรอบรู้                                 . มีความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
. มีมนุษย์สัมพันธ์ดี                                   .  มีทักษะในการประกอบอาชีพ
5. การเป็นผู้มีเหตุผล พอประมาณ มีภูมิคุ้มกันตน เป็นผลจากสิ่งใด
. การเพิ่มคุณภาพงาน                               . การสร้างความมั่นใจในตนเอง
. มีความรอบรู้ รอบคอบ                             .  ประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
6. คุณธรรมที่นำไปสู่หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่คุณธรรมใด               
. มรรคมีองค์ 8                                         .      กฎแห่งกรรม
. เบญจขันธ์                                           .  หิริ โอตตัปปะ ทมะ
7. มัชฌิมาปฏิปทา  หลักความจริงที่เป็นกลางตามธรรมชาติ มีประโยชน์อย่างไร
. ไม่มีความทะยานอยาก                            . มีความเชื่อเรื่องบาปบุญคุณโทษ
. ชีวิตพอเพียงไม่เบียดเบียนกัน                    .  สร้างความรักความสามัคคี
8. สัมมากัมมันตะ การกระทำชอบคือการกระทำใด
. กระทำสิ่งที่สุขใจ                                    . มีสมาธิในการทำงาน
. ประกอบอาชีพสุจริต                               .  กระทำในสิ่งที่ถูกต้อง

ใบมอบหมายงานที่ 2

ใบมอบหมายงานที่ 2
 

กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้หน่วยการเรียนที่ 5

เรื่อง  พุทธธรรมกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(เวลา 30 นาที)



 


จุดประสงค์  ประยุกต์ความรู้เรื่องพุทธธรรมกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติได้


ลำดับขั้นการปฏิบัติ
1. นักเรียนแบ่งเป็น 3 กลุ่ม และจับฉลากหมายเลขกลุ่มที่ 1-3
2. นักเรียนแสดงบทบาทสมมุติหน้าชั้นเรียน เกี่ยวกับประวัติบุคคลผู้ที่ดำเนินชีวิตด้วยหลักพุทธธรรมและหลักเศรษฐกิจพอเพียง ตามที่ครูมอบหมายให้ไปศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ นอกเวลาเรียน  ใช้เวลาแสดงกลุ่มละ 10 นาที
3. นักเรียนสรุปสารประโยชน์ข้อคิดที่ได้รับ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันทุกกลุ่ม

สื่อ - วัสดุอุปกรณ์
1. เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิถีธรรมวิถีไทย
2. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) วิชาวิถีธรรมวิถีไทย
3. เครื่องโปรเจ็คเตอร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์
4. www.bma.go.th/save/  www.mblog.manager.co.th
5. หนังสือทำดี ได้ดี 28 ตัวอย่าง เพื่อสร้างแรงบันดาลใจขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง